โครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ


ชื่อโครงงาน เรื่อง เครื่องกรองน้ำจากวัสถุธรรมชาติ
ชื่อ – สกุลผู้จัดทำโครงงาน
1.            เด็กหญิง ชนิตรา ชาญเสนะ
2.            เด็กหญิง ธวัลรัตน์ ใสสะอาด
3.            เด็กหญิงสุชานันท์ สุกบู
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
ชื่อ – สกุลครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูกัลยานี
บทคัดย่อ
       การศึกษาเรื่องเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติใรครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว 2. เพื่อลดสารเคมีในน้ำ 3. เพื่อประหยัดเวลาในการรอน้ำที่ใช้อุปโภคและบริโภค 4. เพื่อประเมินความพอใจผู้ใช้น้ำ กลามตัวอย่างได้แก่ห้อง ม2/9 จำนวน 45 คน ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 1 – 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ซึ่งได้รับมาเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้แบบประมาณความพึงพอใจจากการใช้ เครื่องกรองน้ำวัสดุธรรมชาติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ย
       ผลการศึกษาพบว่า เครื่องกรองน้ำวัสดุธรรมชาติ มีประสิทธิภาพต่อผู้ใช้ อยู่ในระดับดี






กิตติกรรมประกาศ
       โครงงานสเต็มเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติฉบับนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาอย่างสูงจากผู้มีพระคุณทุกๆท่านที่ให้การสนับสนุนส่งเสริมสละเวลาให้คำปรึกษาแนวคิดแล้วให้ข้อเสนอแนะตลอดจนแก้ไปปรับปรุงข้อบกพร่องผู้ศึกษาทราบซึ่งในความกรุณาและขอกราบขอพระคุณไว้เป็นอย่างสูง
       ประโยชน์ที่พึงได้รับจากการศึกษาในครั้งนี้ผู้ศึกษาขอมอบ แด่ บิดา มารดา คุณครู อาจารย์ และผู้อุปการคุณทุกๆท่านที่มีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จครั้งนี้
     ชนิตรา ชาญเสนะ
ธวัลรัตน์ ใสสะอาด
                                                                                                                           สุชานันท์ สุกบู













สารบัญ
                                                                                                            หน้า
  บทคัดย่อ                                                                                                                                                       
 กิตติกรรมประกาศ                                                                                                                                        
สารบัญรูปภาพ                                                                                                                                               
ที่มาและความสำคัญ                                                                                                                                          1
วัตถุประสงค์                                                                                                                                                       2
สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า                                                                                                                    3
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง                                                                                                                                              4
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า                                                                                                                        5
เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                                                                              6-7
 วิธีการดำเนินการศึกษา                                                                                                                                    8
  วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา                                                                                                 9
วิธีการศึกษา                                                                                                                                                         10
ผลการศึกษา                                                                                                                                        11
สรุปและอภิปรายผลการศึกษา                                                                                                                         12
สรุปผลการศึกษา                                                                                                                  13
ประโยชน์ที่ได้จัดการโครงงาน                                                                                                                   14                                                                                
ข้อเสนอแนะ                                                                                                                                               15
บรรณานุกรม                                                                                                                                     16       
                                                                                                               

















บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
เนื่องด้วยทางบ้านของกลุ่มดิฉันได้ใช้น้ำบาดาลทำให้น้ำมันออกสีน้ำตาขุ่นๆ สีออกน้ำตาลแดงจึงทำให้นำมาชำระร่างกายไม่ได้กลุ่มของดิฉันจึงคิดค้นวิธีแก้น้ำขุ่นนอกจากสารส้มมาแกว่งแล้ว คือ การทำเครื่องกรองน้ำวัสดุธรรมชาติ เพื่ประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
วัตถุประสงค์
1.         เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายครอบครัว
2.         เพื่อลดสารเคมีในน้ำ
3.         เพื่อประหยัดเวลาในการรอน้ำที่จะใช้อุปโภคหรือบริโภค
สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
เราสามารถนำ กรวด ทราย ถ่าน สำลี นำมากรองน้ำได้
ตัวแปรต้น  น้ำบริสุทธิจากเครื่องกรองน้ำวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรตาม น้ำบริสุทธิจากเครื่องกรองน้ำได้
ตัวแปรควบคุม -
    ขอบเขตของการศึกษา
ตัวแปรควบคุม -
นิยามศัพท์เชิงปฎิบัติการ
เครื่องกรองน้ำ คือ น้ำดื่มที่ใช้บริโภคทั่วไป จะได้จากการเก็บกักน้ำฝนไว้ในภาชนะต่าง ๆ เช่น โอ่ง หรือไห หรือจากแหล่งน้ำใต้ดิน เช่น น้ำ บาดาล หรือได้จากแหล่งน้ำผิวดิน เช่น น้ำจากแม่น้ำ ลำธาร โดยอาจจะผ่านการแกว่งด้วยสารส้ม หรือเก็บน้ำไว้ให้ตกตะกอนจนใสพอจะใช้ ต้ม ดื่มได้
ใช้ในงานต่าง ๆ จนความสมดุลย์ของน้ำจืดและน้ำเค็มเสียหาย น้ำบาดาลในหลาย ๆ แห่งจึงมีรสกร่อย เนื่องจากน้ำเค็มจากทะเล ไหล เข้ามาปะปน ส่วนน้ำฝนนั้นเล่าก็โดนปัญหาฝุ่นละอองและสารเคมีตกค้างในอากาศ กลายเป็นฝนกรดไป
กรวด คือ  ก้อนหินเล็กๆ เขื่องกว่าเม็ดทราย
ทราย คือ  ตามธรรมชาติแล้ว ทรายเกิดจากหินที่ถูกย่อยเป็นเม็ดละเอียด ซึ่งหมายถึงทรายทั่ว ๆ ไปที่เราพบเห็นตามชายหาด แต่อีกความหมายหนึ่งในแง่วิทยาศาสตร์แล้ว หมายถึงชื่อขนาดของอนุภาคขนาดเม็ด "ทราย"
ถ่าน คือ  ธาตุชนิดหนึ่ง สีดำ สำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง
ชื่อไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง.










บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มผู้ทำโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 4ประการ ดังนี้
ส่วนประกอบของเครื่องกรองน้ำ
วัสดุ – อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
1.             ขวดหรือถัง
2.             ถ่าน
3.             หินกรวด
4.             สำลี
5.             ทราย
6.             ปืนกาว
7.             เชือก
8.             กรรไกร
วิธีการศึกษา
1.นำขวดเหลือใช้มาตัดก้นที่ขวดแล้วล้างให้สระอาด
2. แล้วนำสำลีมาใส่ในขวดเป็นชั้นที่ 1 ใส่ไปหลายๆชั้นๆ ชั้นที่ 2 แล้วก้ใส่ทรายลงไป แล้วจากนั้นก้นำถ่านก้อนเล็กๆที่เราเตรียมไว้มาใส่เป็นชั้นที่ 3 และชั้นที่ 4 ก็ใส่กรวดลงไป
3. เจาะรูที่ข้างขวดเพื่อสำหรับแขวน แล้วนำเชือกฟางมาใส่ในรูที่เจาะไว้
4. นอกจากนั้นใส่น้ำลงไปแล้วนำขวดไปแขวน
 


บทที่ 3
วิธีการดำเนินการศึกษา
วัสดุ - - อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
1. ขวดหรือถัง
2. ถ่าน
 3.หินกรวด
4.สำลี
5.ทราย
6.ปืนกาว
7.เชือก
8.กรรไกร
วิธีการศึกษา
1.นำขวดเหลือใช้มาตัดก้นที่ขวดแล้วล้างให้สระอาด
2. แล้วนำสำลีมาใส่ในขวดเป็นชั้นที่ 1 ใส่ไปหลายๆชั้นๆ ชั้นที่ 2 แล้วก้ใส่ทรายลงไป แล้วจากนั้นก้นำถ่านก้อนเล็กๆที่เราเตรียมไว้มาใส่เป็นชั้นที่ 3 และชั้นที่ 4 ก็ใส่กรวดลงไป
3. เจาะรูที่ข้างขวดเพื่อสำหรับแขวน แล้วนำเชือกฟางมาใส่ในรูที่เจาะไว้
4. นอกจากนั้นใส่น้ำลงไปแล้วนำขวดไปแขวน
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ได้ตามสมมุติฐาน สามารถนำ กรวด ทราย ถ่าน สำลี นำมากรองน้ำได้ น้ำมีความใส่ และรวดเร็ว
และไม่ต้องเสียเวลาที่มารอน้ำจากการแกว่งสารส้มและรอให้น้ำตกตะกอน
















บทที่5
สรุปและอภิปรายผลการศึกษา
กรวด ทราย ถ่าน สำลี สามารถนำมากรองน้ำให้ใสได้โดยไม่มีสารเคมีต่างๆและยังประหยัดเวลาในการรอน้ำให้ตกตะกอน
ประโยชน์ที่ได้จากการทำโครงงาน
1.           ได้ศึกษาวิธีการทำเครื่องกรองจากวัสดุธรรมชาติ
2.           ทำให้คนลดการใช้สารเคมี
3.           ทำให้คนไทยรู้จักการนำของที่มีมาปรับแปลงเปลี่ยน

ข้อเสนอแนะ
1.           หาวิธีการกรองน้ำโดนทำจากอย่างอื่นอีก










อ้างอิง
 สุพัตรา ชาญเสนะ วิธีการทำเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2560

ความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ขายสินค้า